เนื้อสัตว์ อาหารอันโอชะ หรือพญามัจจุราช

ในห้อง 'จิตวิทยา & สุขภาพ' ตั้งกระทู้โดย terryh, 28 ตุลาคม 2009.

  1. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    <TABLE border=1><TBODY><TR><TD bgColor=red>เนื้อสัตว์ อาหารอันโอชะ หรือพญามัจจุราช

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อาหารผิดธรรมชาติเพียงวันละ ๑ คำ ก็เพียงพอ ที่จะก่อให้เกิดโรคได้อย่างเรื้<WBR>อรัง
    ศ.นพ.ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ
    ปัจจุบันมีคนจำนวนมาก ที่นิยมบริโภคเนื้อสัตว์เป็<WBR>นอาหารหลัก โดยคาดไม่ถึง หรือไม่รู้มาก่อนว่า ในเนื้อสัตว์นั้นเป็นแหล่<WBR>งสะสมสารพิษมากมาย โรคต่างๆ ที่คนทุกวันนี้เป็นกัน ล้วนมีต้นเหตุมาจาก อาหารเป็นพิษ “การกินเนื้อสัตว์จึงเท่ากับเป็<WBR>นการกินเชื้อโรคเข้าไปโดยตรงนั่<WBR>นเอง โอกาสที่จะป่วย ก็ย่อมมีอยู่ทุกลมหายใจ”
    พิษจากสารเคมีปนเปื้อนตกค้าง เนื่องจากการเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ยาปฏิชีวนะ สารฮอร์โมน เร่งการเจริญเติบโต ฮอร์โมนเร่งให้มีไขมันมาก ยาฆ่าแมลง ฟอร์มาลิน
    สารชีวภาพในเนื้อสัตว์ ได้แก่ โคเลสเตอรอล ไขมันอิ่มตัว กรดยูริค พยาธิต่างๆ เป็นต้น
    สารพิษเหล่านี้จึ<WBR>งนำความหายนะมาสู่ผู้บริโภค ทำให้ป่วยเป็นโรคเรื้อรั<WBR>งและหายยาก ได้แก่ โรคหัวใจ, มะเร็ง, ความดันโลหิตสูง, ไขข้ออักเสบ, โรคเบาหวาน, ตับแข็ง ตับอักเสบ, นิ่วในไต, นิ่วในถุงน้ำดี, ฝีพุพอง, มะเร็งลำไส้, กระดูกพรุน, เหนื่อยง่าย, โรควัวบ้า, สมองเสื่อม, หลอดเลือดสมองตีบ, อัมพาต, อวัยวะภายในอักเสบ, ริดสีดวงทวาร ฯลฯ แค่นี้ก็เหลือเฟือแล้ว
    นอกจากนี้ ยังแก่เร็วและอายุสั้นอีกด้วย…
    ทันทีที่คุณบริโภคเนื้อสัตว์ ก็เหมือนเปิดไฟเขียว ให้แขกที่ไม่ได้รับเชิญ เข้ามาก่อร่างสร้างที่ อยู่ในตัวคุณ หนึ่งในนั้นคือ… โคเลสเตอรอล ซึ่งเป็นศัตรูตัวฉกาจอันดับหนึ่<WBR>ง พบมากในส่วนต่างๆ ของสัตว์ โดยเฉพาะสมอง เลือด ไขมัน และเครื่องในสัตว์
    การเสนอแต่ด้านดีของแหล่งโปรตีน จากเนื้อสัตว์ ทำให้คนจำนวนมากหลงใหลได้ปลื้ม กับการกินเนื้อสัตว์อย่างไม่บั<WBR>นยะบันยัง เนื้อสัตว์จะมีไขมันแทรกอยู่เป็<WBR>นจำนวนมาก ถ้ากินมาก แต่ใช้ไม่หมด ร่างกายก็แปลงเป็นไขมันอยู่นั่<WBR>นเอง ทำให้เกิดโรคอ้วน ความดันเลือดสูง โรคหัวใจ คนที่เป็นมากๆ ก็อาจมีไขมันอุดตันเส้นเลื<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cWBR\u003eอดสมอง เกิดโรคอัมพาตได้ \u003cbr\u003e\n        สัตว์เหล่านี้เป็นพาหะในการแพร่\u003cWBR\u003eเชื้อเป็นอย่างดี เนื้อสัตว์ที่วางขายตามท้องตลอด สังเกตดูยังไงๆ ก็ดูไม่ออก ว่ามีเชื้อโรคปะปนอยู่ ผู้บริโภคเนื้อสัตว์จึงกลายเป็\u003cWBR\u003eนเหยื่อ ของเชื้อโรคเหล่านี้ \u003cbr\u003e        มะเร็งเป็นโรคที่รักษายาก และคนไทยก็ป่วยเป็นมะเร็งกันมาก จนกลายเป็นแฟชั่นฮิตติดอันดับ ๒ รองจากโรคหัวใจ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะสัตว์ได้ติดเชื้อมะเร็งมา ก่อนที่จะถูกฆ่า แต่พ่อค้าหัวใส ตัดเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้องอก หรือส่วนที่เป็นมะเร็งทิ้ง ที่เหลือก็มาวางขายแหกตาผู้บริ\u003cWBR\u003eโภค\u003c/font\u003e \u003c/div\u003e\n\n\u003cdiv\u003e\u003cfont color\u003d\"#0000ff\" size\u003d\"5\"\u003e\u003c/font\u003e \u003c/div\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cfont color\u003d\"#0000ff\" size\u003d\"5\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"1\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003e\u003cb\u003eศ.นพ. ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ\u003c/b\u003e\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eProf. Dr.Vichit Punyahotra\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003e \u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003e\u003cfont size\u003d\"2\"\u003e\u003c/font\u003e \u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"19\"\u003e \u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eเกิด\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e  15   ตุลาคม   2472 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cb\u003eการศึกษา \u003c/b\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e- ปริญญาแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล \u003cbr\u003e- ปริญญาเอกทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยดุ๊ก (Duke University) และมหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) สหรัฐอเมริกา \u003cbr\u003e- ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ \u003c/span\u003e\u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eสถานที่ติดต่อ\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e \u003cbr\u003e\u003cbr\u003e\u003cspan\u003e74 / 203 หมู่ที่ 17 สนามกอล์ฟไพน์เฮิร์สท์ ซอยตะวันตก 3 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eโทรศัพท์\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e0-2516-1456,0-2516-2567 \u003c/span\u003e\u003cspan\u003e   มือถือ\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e08-1831-7162 \u003c/span\u003e\u003cspan\u003e   โทรสาร\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e0-2516-1177 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eE-mail\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e\u003ca href\u003d\"mailto:vichitnr@nesac.go.th\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003evichitnr@nesac.go.th\u003c/a\u003e \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e",1]);//--></SCRIPT> <WBR>อดสมอง เกิดโรคอัมพาตได้
    สัตว์เหล่านี้เป็นพาหะในการแพร่<WBR>เชื้อเป็นอย่างดี เนื้อสัตว์ที่วางขายตามท้องตลอด สังเกตดูยังไงๆ ก็ดูไม่ออก ว่ามีเชื้อโรคปะปนอยู่ ผู้บริโภคเนื้อสัตว์จึงกลายเป็<WBR>นเหยื่อ ของเชื้อโรคเหล่านี้
    มะเร็งเป็นโรคที่รักษายาก และคนไทยก็ป่วยเป็นมะเร็งกันมาก จนกลายเป็นแฟชั่นฮิตติดอันดับ ๒ รองจากโรคหัวใจ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะสัตว์ได้ติดเชื้อมะเร็งมา ก่อนที่จะถูกฆ่า แต่พ่อค้าหัวใส ตัดเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้องอก หรือส่วนที่เป็นมะเร็งทิ้ง ที่เหลือก็มาวางขายแหกตาผู้บริ<WBR>โภค


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=25>
    ศ.นพ. ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    Prof. Dr.Vichit Punyahotra​
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    </TD></TR><TR><TD height=19> </TD></TR><TR><TD height=25> </TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25>

    </TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><SCRIPT><!--D(["mb","\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003e\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cfont size\u003d\"2\"\u003e\u003c/font\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eประสบการณ์\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"18\"\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan\u003e- สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ\u003cWBR\u003eจและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ 1 \u003cbr\u003e- ประธานคณะทำงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและพลังงาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสั\u003cWBR\u003eงคมแห่งชาติ \u003cbr\u003e-\u003d2 \n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"802\" align\u003d\"center\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" width\u003d\"524\" bgcolor\u003d\"#ffffff\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" width\u003d\"96%\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"1\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003e\u003cb\u003eศ.นพ. ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ\u003c/b\u003e\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eProf. Dr.Vichit Punyahotra\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ\u003cWBR\u003eจและสังคมแห่งชาติ \u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ \u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"19\"\u003e \u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eเกิด\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e  15   ตุลาคม   2472 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cb\u003eการศึกษา \u003c/b\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e- ปริญญาแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล \u003cbr\u003e- ปริญญาเอกทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยดุ๊ก (Duke University) และมหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) สหรัฐอเมริกา \u003cbr\u003e- ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ \u003c/span\u003e\u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eสถานที่ติดต่อ\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e \u003cbr\u003e\u003cbr\u003e\u003cspan\u003e74 / 203 หมู่ที่ 17 สนามกอล์ฟไพน์เฮิร์สท์ ซอยตะวันตก 3 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eโทรศัพท์\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e0-2516-1456,0-2516-2567 \u003c/span\u003e\u003cspan\u003e   มือถือ\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e08-1831-7162 \u003c/span\u003e\u003cspan\u003e   โทรสาร\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e0-2516-1177 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eE-mail\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e\u003ca href\u003d\"mailto:vichitnr@nesac.go.th\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e",1]);//--></SCRIPT><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25>ประสบการณ์</TD></TR><TR><TD height=18><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=802 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=524 bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="96%"><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=25>
    ศ.นพ. ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    Prof. Dr.Vichit Punyahotra​
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ<WBR>จและสังคมแห่งชาติ ​
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ​
    </TD></TR><TR><TD height=19> </TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25><SCRIPT><!--D(["mb","vichitnr@nesac.go.th\u003c/a\u003e \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eอาชีพปัจจุบัน\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eข้าราชการบำนาญ \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eประสบการณ์\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"18\"\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan\u003e- สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ\u003cWBR\u003eจและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ 1 \u003cbr\u003e- ประธานคณะทำงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและพลังงาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสั\u003cWBR\u003eงคมแห่งชาติ \u003cbr\u003e- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ วุฒิสภา ศาสตราจารย์สโมสร \u003cbr\u003e\n- วุฒิอาสาธนาคารสมอง \u003cbr\u003e- ประธานสถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมและพลังงานแห่งเอเชี\u003cWBR\u003eย \u003cbr\u003e- กรรมการและเลขานุ\u003cWBR\u003eการคณะกรรมการป้องกันอุบัติภั\u003cWBR\u003eยแห่งชาติ (กปอ.) \u003cbr\u003e- ที่ปรึกษาและผู้เชี่\u003cWBR\u003eยวชาญขององค์การอนามัยโลก \u003cbr\u003e- ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) \u003cbr\u003e\n- ประธานสถาบันเกษตรสุขภาพ (ประเทศไทย) \u003cbr\u003e- ประธานสถาบันเทคโนโลยีชี\u003cWBR\u003eวภาพเขตร้อน \u003cbr\u003e- ประธานสถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัยสิ่งแวดล้\u003cWBR\u003eอมและการประหยัดพลังงานแห่\u003cWBR\u003eงเอเชีย \u003cbr\u003e- พ.ศ.2538 ได้รับคัดเลือกจากองค์กร Biography Fame International นำชีวประวัติลงในหนังสือ “ชีวประวัติคนสำคัญนานาชาติ” \u003cbr\u003e\n- พ.ศ.2541 ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคคลผู้\u003cWBR\u003eทำคุณประโยชน์ให้แก่มนุษยชาติ (ใน 30,000 คนทั่วโลก โดยองค์กร Who’s who in the world) \u003cbr\u003eฯลฯ \u003c/span\u003e\u003c/div\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan\u003e\u003c/span\u003e \u003c/div\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan\u003e\u003cfont size\u003d\"2\"\u003e******************************\u003cWBR\u003e*****************************\u003c/font\u003e\u003c/span\u003e\u003c/div\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan\u003e\u003cfont size\u003d\"2\"\u003e\u003c/font\u003e\u003c/span\u003e \u003c/div\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"802\" align\u003d\"center\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" width\u003d\"524\" bgcolor\u003d\"#ffffff\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"0\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd valign\u003d\"top\" width\u003d\"96%\"\u003e\n\u003ctable cellspacing\u003d\"1\" cellpadding\u003d\"0\" width\u003d\"100%\" border\u003d\"0\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003e\u003cb\u003eศ.นพ. ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ\u003c/b\u003e\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eProf. Dr.Vichit Punyahotra\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ\u003cWBR\u003eจและสังคมแห่งชาติ \u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e",1]);//--></SCRIPT></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR><TR><TD height=18>
    -

    ******************************<WBR>*****************************

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=802 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=524 bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="96%"><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=25>
    ศ.นพ. ดร.วิจิตร บุณยะโหตระ
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    Prof. Dr.Vichit Punyahotra​
    </TD></TR><TR><TD height=25>
    สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ<WBR>จและสังคมแห่งชาติ ​
    </TD></TR><TR><TD height=25><SCRIPT><!--D(["mb","\n\u003cdiv align\u003d\"center\"\u003eกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ \u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"19\"\u003e \u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eเกิด\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e  15   ตุลาคม   2472 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cb\u003eการศึกษา \u003c/b\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e- ปริญญาแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล \u003cbr\u003e- ปริญญาเอกทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยดุ๊ก (Duke University) และมหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) สหรัฐอเมริกา \u003cbr\u003e- ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ \u003c/span\u003e\u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eสถานที่ติดต่อ\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e \u003cbr\u003e\u003cbr\u003e\u003cspan\u003e74 / 203 หมู่ที่ 17 สนามกอล์ฟไพน์เฮิร์สท์ ซอยตะวันตก 3 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eโทรศัพท์\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e0-2516-1456,0-2516-2567 \u003c/span\u003e\u003cspan\u003e   มือถือ\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e08-1831-7162 \u003c/span\u003e\u003cspan\u003e   โทรสาร\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e0-2516-1177 \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\n\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eE-mail\u003c/span\u003e \u003cspan\u003e\u003ca href\u003d\"mailto:vichitnr@nesac.go.th\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003evichitnr@nesac.go.th\u003c/a\u003e \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eอาชีพปัจจุบัน\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003eข้าราชการบำนาญ \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003cspan\u003e\u003cb\u003eประสบการณ์\u003c/b\u003e\u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"18\"\u003e\u003cspan\u003e- สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ\u003cWBR\u003eจและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ 1 \u003cbr\u003e- ประธานคณะทำงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและพลังงาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสั\u003cWBR\u003eงคมแห่งชาติ \u003cbr\u003e- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ วุฒิสภา ศาสตราจารย์สโมสร \u003cbr\u003e\n- วุฒิอาสาธนาคารสมอง \u003cbr\u003e- ประธานสถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมและพลังงานแห่งเอเชี\u003cWBR\u003eย \u003cbr\u003e- กรรมการและเลขานุ\u003cWBR\u003eการคณะกรรมการป้องกันอุบัติภั\u003cWBR\u003eยแห่งชาติ (กปอ.) \u003cbr\u003e- ที่ปรึกษาและผู้เชี่\u003cWBR\u003eยวชาญขององค์การอนามัยโลก \u003cbr\u003e- ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์) \u003cbr\u003e\n- ประธานสถาบันเกษตรสุขภาพ (ประเทศไทย) \u003cbr\u003e- ประธานสถาบันเทคโนโลยีชี\u003cWBR\u003eวภาพเขตร้อน \u003cbr\u003e- ประธานสถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัยสิ่งแวดล้\u003cWBR\u003eอมและการประหยัดพลังงานแห่\u003cWBR\u003eงเอเชีย \u003cbr\u003e- พ.ศ.2538 ได้รับคัดเลือกจากองค์กร Biography Fame International นำชีวประวัติลงในหนังสือ “ชีวประวัติคนสำคัญนานาชาติ” ",1]);//--></SCRIPT>
    กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ​
    </TD></TR><TR><TD height=19> </TD></TR><TR><TD height=25>เกิด 15 ตุลาคม 2472 </TD></TR><TR><TD height=25>การศึกษา </TD></TR><TR><TD height=25>- ปริญญาแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
    - ปริญญาเอกทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยดุ๊ก (Duke University) และมหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) สหรัฐอเมริกา
    - ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์

    </TD></TR><TR><TD height=25>สถานที่ติดต่อ

    74 / 203 หมู่ที่ 17 สนามกอล์ฟไพน์เฮิร์สท์ ซอยตะวันตก 3 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 </TD></TR><TR><TD height=25>โทรศัพท์ 0-2516-1456,0-2516-2567 มือถือ 08-1831-7162 โทรสาร 0-2516-1177 </TD></TR><TR><TD height=25>E-mail vichitnr@nesac.go.th </TD></TR><TR><TD height=25>อาชีพปัจจุบัน</TD></TR><TR><TD height=25>ข้าราชการบำนาญ </TD></TR><TR><TD height=25>ประสบการณ์</TD></TR><TR><TD height=18>- สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ<WBR>จและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ 1
    - ประธานคณะทำงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมและพลังงาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสั<WBR>งคมแห่งชาติ
    - ศาสตราจารย์เกียรติคุณ วุฒิสภา ศาสตราจารย์สโมสร
    - วุฒิอาสาธนาคารสมอง
    - ประธานสถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมและพลังงานแห่งเอเชี<WBR>ย
    - กรรมการและเลขานุ<WBR>การคณะกรรมการป้องกันอุบัติภั<WBR>ยแห่งชาติ (กปอ.)
    - ที่ปรึกษาและผู้เชี่<WBR>ยวชาญขององค์การอนามัยโลก
    - ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
    - ประธานสถาบันเกษตรสุขภาพ (ประเทศไทย)
    - ประธานสถาบันเทคโนโลยีชี<WBR>วภาพเขตร้อน
    - ประธานสถาบันความปลอดภัย อาชีวอนามัยสิ่งแวดล้<WBR>อมและการประหยัดพลังงานแห่<WBR>งเอเชีย
    - พ.ศ.2538 ได้รับคัดเลือกจากองค์กร Biography Fame International นำชีวประวัติลงในหนังสือ “ชีวประวัติคนสำคัญนานาชาติ”<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cbr\u003e\n- พ.ศ.2541 ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคคลผู้\u003cWBR\u003eทำคุณประโยชน์ให้แก่มนุษยชาติ (ใน 30,000 คนทั่วโลก โดยองค์กร Who’s who in the world) \u003cbr\u003eฯลฯ \u003c/span\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"19\"\u003e \u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/span\u003e\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd width\u003d\"16\" background\u003d\"http://www.nesac.go.th/nesac/images/main/main_07.gif\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.nesac.go.th/nesac/images/main/spacer.gif\" width\u003d\"16\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/span\u003e\u003c/div\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"19\"\u003e \u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd height\u003d\"25\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003cbr\u003e\n\u003ctable\u003e\u003ctd width\u003d\"16\" background\u003d\"http://www.nesac.go.th/nesac/images/main/main_07.gif\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" src\u003d\"http://www.nesac.go.th/nesac/images/main/spacer.gif\" width\u003d\"16\"\u003e\u003c/td\u003e\u003c/table\u003e\u003c/font\u003e\u003c/div\u003e\u003c/div\u003e\u003cbr\u003e \n",0]);//--></SCRIPT>
    - พ.ศ.2541 ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคคลผู้<WBR>ทำคุณประโยชน์ให้แก่มนุษยชาติ (ใน 30,000 คนทั่วโลก โดยองค์กร Who’s who in the world)
    ฯลฯ
    </TD></TR><TR><TD height=19> </TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=16 background=http://www.nesac.go.th/nesac/images/main/main_07.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD height=19> </TD></TR><TR><TD height=25></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD width=16 background=http://www.nesac.go.th/nesac/images/main/main_07.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    บริโภคเนื้อปลา ไม่ช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะโรคหัวใจ

    บริโภคเนื้อปลา ไม่ช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะโรคหัวใจ ดังที่เคยเชื่อกันมา

    ภายหลังจากงานศึกษา วิจัย มาอย่างยาวนานโดยมหาวิทยาลัยแพทย์ รอตเตอดัมส์ แห่งประเทศ เนเธอร์แลนด์ เนื้อปลา ไม่ช่วยลดความเสี่ยงโรคหัวใจ และ อาจมีสารเคมีตกค้าง เช่นสารตะกั่ว สารพิษจาก รง อุตสาหกรรม กากนิวเครียส์ จาก มลพิษทางน้ำ ก่อให้เกิดโรคร้ายชนิดอื่น ๆ


    ข้อมูลจาก คณะกรรมการอาหาร และ ยา แห่งสหรัฐ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • f.jpg
      f.jpg
      ขนาดไฟล์:
      99.7 KB
      เปิดดู:
      125
  3. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    เตือนภัยสารเร่งโตในเนื้อสัตว์ หมู ไก่ ป่วยเนื้องอก

    <TABLE class=tborder id=post41563 cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_41563>เตือนภัยสารเร่งโตในเนื้อสัตว์ หมู ไก่ ป่วยเนื้องอก
    <HR style="COLOR: #a9c0d1" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->เตือนภัยสารเร่งโตในเนื้อสัตว์ หมู ไก่ ป่วยเนื้องอก

    --------------------------------------------------------------------------------

    เรื่องเล่าจากประสบการณ์ตรง (สำหรับผู้หญิงวัย 30 ขึ้นไป)

    ไม่ดูรูปก็ได้นะ หากไม่แน่ใจในความน่ากลัวที่จะเห็น แต่มีประโยชน์มากค่ะ

    หวัดดีค่ะ เพื่อนๆ พี่ๆ ผู้หญิงทุกคน

    อ้อผ่าตัดเสร็จ เพิ่งกลับบ้านวันนี้ค่ะ ไม่ค่อยเจ็บแผลแล้วละ แต่ยังต้องลุกนั่งระวังอยู่คงอยู่บ้านซัก 2-3 อาทิตย์อ่ะค่ะถึงจะเข้า office
    รอบนี้เหมือนมาผ่าคลอดลูกเลยเพราะทำไปหลายอย่างมาก
    (ซ้อมไว้ก่อน สามีเดี๋ยวค่อยหา)

    ผ่านเรื่องนี้มาได้เลยอยากกระจายเป็นวิทยาทานให้ทุกค นที่รู้จักมีสุขภาพที่ดี
    ฝากบอกต่อเพื่อนๆ ญาติผู้หญิงด้วยนะคะ (ไม่ต้อง forward รูปไปก้อได้นะคะ มันอาจจะน่ากลัวเกินไปสำหรับหลายๆคน
    ส่งให้ เพื่อนๆที่สนิทกันดูเป็น reference เฉยๆ)

    ส่งรูป myoma ที่ผ่าออกจากมดลูกเราทั้ง 16 เม็ดมาให้ดูค่ะ เส้นผ่านศก.
    ตั้งแต่ 0.5-5 cm มันดูอี๋ นิดนึง แต่ไม่เป็นอันตรายค่ะ มันเป็นเหมือนเนื้องอก
    ชนิดนึงที่เกาะตัวอยู่ที่มดลูกทำให้มดลูกโตผิดปรกติ จริงๆจะไม่ผ่าออกก้อได้
    แต่ของเรามีเยอะ และถ้าเก็บไว้มันอาจจะโตขึ้นเรื่อยๆ อีกได้ นานๆไปอาจทำให้มดลูก รูปทรงเพี้ยนได้ สำหรับคนแต่งงานแล้วมันทำให้ท้องยากเพราะตัวอ่อนหาที ่ฝังตัวไม่เจอ หรือถ้าเจอก้อ
    อาจหลุดได้เพราะโดนไอ้ก้อนพวกนี้เบียดออก สาเหตุไม่ชัดเจนนัก เกี่ยวกับกรรมพันธุ์เป็นส่วนน้อย กรณีเราเชื่อว่าเกิดจากฮอร์โมน estrogen เยอะ คุณหมอบอกว่าโอกาสเกิดกับผู้หญิงอายุ 30-40 กว่าที่ยังไม่มีลูกประมาณ 1 ใน 4 ค่ะ (แต่เค้าจะเจอกันคนละเม็ด 2 เม็ดพอเป็นพิธี ไม่ค่อยเจอเยอะยังงี้หรอก)
    ของพี่สาวเพื่อนเจอเม็ดเดียวแต่โตเท่าลูกแอ๊บเปิ้ลเล ย ไม่มีอาการปวดอะไร อาการที่น่าสังเกตตัวเองคือ เวลาเมนส์มาจะมาเยอะมากและอาจเห็นเป็นลิ่มๆเยอะหน่อย และปวดท้องเมนส์ค่อนข้างมาก (ย้ำ ไม่ได้ปวดท้องเพราะก้อน myoma )

    ข้อแนะนำสำหรับสาวๆวัย 30 up ฝากบอกต่อนะคะ

    1. จะมีหรือยังไม่มีสามีก้อตาม 30 แล้ว ก้อควรตรวจภายในและอุลตร้าซาวนด์ทุกปีนะคะ อย่างที่บอก ขนาดของเรามีเยอะแบบนี้ยังไม่มีอาการปวดท้องเตือนเลย อย่ากลัวหมอ อย่าอายหมอ หรือรอจนวันที่ สายเกินไป ส่วนเกินไม่มีประโยชน์อย่าเก็บไว้กับตัวเลยค่ะ (อันนี้รวมถึง chocolate cyst โรคยอดฮิต ถ้าขนาดใหญ่เกิน 5 cm แล้วน่าพิจารณาผ่าออกค่ะ เก็บไว้นาน มันอาจโตขึ้นมากจนแตกในท้องได้ จะปวดมากและเป็นอันตรายได้ค่ะ)

    2. ควรเลี่ยงเนื้อสัตว์ประเภทที่มีการสะสมของฮอร์โมนเร่ งโตทั้งหลายลง



    #############################################
    2. ควรเลี่ยงเนื้อสัตว์ประเภทที่มีการสะสมของฮอร์โมนเร่ งโตทั้งหลายลง

    อันตรายอาหารเนื้อสัตว์ ที่มีการสะสมของฮอร์โมนเร่งโต อาจทำให้ป่วยโรค
    เนื้องอกหลายประเภท ปัจจุบันเป็นหนึ่งในโรคที่มีผู้ป่วยมากเพิ่มขึ้นอย่า งน่าตกใจ เพราะสารพิษตกค้างในเนื้อสัตว์




    --------------------------------------------------------------------------------
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูป</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET>
    <!-- / attachments --></TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #a9c0d1 1px solid; BORDER-TOP: #a9c0d1 0px solid; BORDER-LEFT: #a9c0d1 1px solid; BORDER-BOTTOM: #a9c0d1 1px solid"> </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #a9c0d1 1px solid; BORDER-TOP: #a9c0d1 0px solid; BORDER-LEFT: #a9c0d1 0px solid; BORDER-BOTTOM: #a9c0d1 1px solid" align=right><!-- controls --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ชีวิตที่ร่ำไห้

    <TABLE class=tborder id=post19376 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_19376 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid">เนื้อเพลง: ชีวิตที่ร่ำไห้
    (ขอมอบเพลงธรรมนี้แด่ชีวิตที่ร่ำไห้ทั้งมวล เพื่อเป็น กระบอกเสียงแทน สรรพสัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น)

    หนึ่งชีวิต ที่ฉันได้เกิดมา หลากชีวิต เหล่าสัตว์ธรรมดา
    [​IMG]

    กับความคิด ที่คนหลงผิดมา ว่าฉันเป็นอาหาร
    [​IMG]

    ต่อชีวิตของคนด้วยชีวิต หยุดสักนิด ฉุกคิดถึงผลกรรม
    [​IMG]

    หากชีวิตของคนโดนกระทำ เลือดแดงก่ำร่ำไห้
    [​IMG]

    ทุรนทุราย
    [​IMG]

    หมดแรงฝืนฉันยืนไม่ไหว คนใจร้ายหมายพรากชีวิต
    [​IMG]

    อยากขัดขืนฝืนทน แต่มันไม่มีสิทธิ์
    [​IMG]

    แม้แต่จะคิดยืดเวลา
    [​IMG]

    ปรับความคิด เลิกกินเนื้อสัตว์เถิดหนา
    [​IMG]

    หยุดการฆ่า ทำร้ายทำลายกัน
    [​IMG]

    ทุกชีวิต ต่างรักต่างผูกพัน
    [​IMG]

    อย่าทรมานฉันอีกต่อไป
    [​IMG]

    * * * * * *
    หมดแรงฝืนฉันยืนไม่ไหว คนใจร้ายหมายพรากชีวิต
    [​IMG]

    อยากขัดขืนฝืนทน แต่มันไม่มีสิทธิ์ แม้แต่จะคิดยืดเวลา
    [​IMG]

    ปรับความคิด เลิกกินเนื้อสัตว์เถิดหนา หยุดการฆ่า ทำร้ายทำลายกัน
    [​IMG]

    ทุกชีวิต ต่างรักต่างผูกพัน
    [​IMG]

    อย่าทรมานฉันอีกต่อไป
    [​IMG]

    อย่าทรมานฉันอีกเลย
    [​IMG]


    [​IMG]

    -------------------------------------------------------------

    อนุโมทนากับทุกท่านที่ได้ฟังเพลงธรรมนี้ เนื่องในโอกาสเทศกาลเจที่จะมาถึง หรือ แม้แต่หลังเทศกาลเจทุกภพทุกชาติ

    การงดปาณาติบาตไม่ว่าทางตรง หรือ ทางอ้อมก็ดี คือ ขั้นพื้นฐานของการปฏิบัติบำเพ็ญจิตที่ง่ายที่สุด เป็นขั้นพื้นฐานตัดบ่วงกรรมใหม่ๆในชาติปัจจุบันนั่นเอง

    การรักษาศีลเจก็คือ การละเว้นกรรมปาก คือ นอกจากไม่ทานเนื้อสัตว์ทุกชนิดแล้ว ยังต้องไม่สร้างวจีกรรมต่อกัน เพราะคำพูดหนึ่งคำ หากพูดไม่ระวัง ก็สามารถทำลายหรือฆ่าคนได้ ไม่เพียงแต่ทานเจเพียงอย่างเดียวเท่านั้น กัลยาณชนต้องสร้างสมคุณธรรมด้วย โดยเฉพาะ ความกตัญญูต่อบุพการี ครูบาอาจารย์ และ ชาติบ้านเมือง พี่น้องในครอบครัวต้องปรองดอง เพื่อนฝูงกลมเกลียว สามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นี้คือ ความประสงค์แห่งธรรม

    หากเอาแต่ทานเจ แต่ไม่ละกรรมปาก หรือ ทานแต่พืชผัก แล้วหยิ่งผยองทะนงตน ยกตนข่มท่าน ไม่ระวังมิจฉาวาจา ไม่ขัดเกลาจิตใจ ไม่แก้ไขความเคยชินที่ไม่ดีของตนเอง ก็ถือว่า ไม่ใช่การทานเจที่แท้จริง เป็นเพียงแค่การบำรุงกระเพาะและธาตุขันธ์เท่านั้นเอง

    นอกจากจะให้ความสุขแด่เพื่อนมนุษย์ด้วยกันแล้ว ก็จงอย่าได้ลืมที่จะให้สรรพสัตว์ทั้งหลายได้หายใจอยู่บนโลกใบนี้จนหมดอายุขัยของเขาเองบ้าง การรักษาศีลเจ แม้จะได้บุญหรือไม่ก็ตาม แต่เป็นการบำเพ็ญกุศลภายใน นั่นคือ คุณได้เป็นส่วนหนึ่งในจักรวาล ที่ได้เป็นผู้ให้แก่พวกเขาอย่างแท้จริง ให้อะไรรึ ก็ให้ชีวิตแด่พวกเขานั่นเอง และเป็นการให้โอกาส โอกาสให้พวกเขาได้ดำรงขันธ์ต่อไป แค่เกิดมาเป็นสัตว์เดรัจฉานก็ทุกข์หนักหนาสาหัสแล้ว ใยจึงต้องซ้ำเติมต่อกันให้เกิดบ่วงกรรม จงให้อภัยพวกเขาที่พวกเขาไม่สามารถเกิดมาเป็นมนุษย์ได้

    หากไม่เชื่อในเรื่องการทานเจ ก็ลองย้อนมองตนดู ใจเขาใจเรา สมมติเราเกิดไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานบ้าง ความรู้สึกนั่นเป็นเช่นไร คงเสียใจไม่น้อยใช่หรือไม่

    นโม หมีเล่อฝอ
    ขอเมตตาธรรมจงอุดหนุนค้ำชูท่านทั้งหลายเทอญ
    (หากตัดขาดมิได้ตลอดชีวิต ก็สามารถทานเจละเว้นเลือดเนื้อผู้อื่น ในทุกวันพระหรือทุกวันเกิด วันสำคัญทางพุทธศาสนาต่างๆภายในชาตินี้ ดีกว่าไม่เคยเลย)
    ------------------------------------

    ขอบพระคุณเว็ปพลังจิตเมตตา<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>
    </TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. tikiti46

    tikiti46 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +3
    ขออโหสิกกรมเเก่ทุกข์ชีวิต ที่เคยกระทำมา
     
  6. noonei789

    noonei789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,079
    ค่าพลัง:
    +6,958
    บางครั้งก็สะอิดสะเอียนการกินเนื้อค่ะ เเทบอาเจียน มีช่วงหนึ่งหยุดรับประทานเนื้อไปเลยค่ะพักใหญ่
     
  7. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    สมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกา

    รองศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี สุทธจิตต์


    นี่เป็นความผิดพลาดทางโภชนาการ อันใหญ่หลวงของมนุษย์ ในศตวรรษที่ผ่านมา เพราะเป็นยุคที่เราเห่ออาหารฝรั่ง อเมริกัน และอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นสินค้าข้ามชาติ
    ฝรั่งเขาปรุงรสชาติอาหารให้มีรสอร่อย ติดใจและกินง่าย ให้เป็นอาหารจานด่วนหรือ “ฟาสต์ฟู้ด” ซึ่งนำไปสู่โรคร้ายเรื้อรังอย่างรวดเร็ว เช่น โรคอ้วน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง เป็นต้น
    ถ้าเป็นเช่นนี้ “ฟาสต์ฟู้ด” ก็จะกลายเป็น “ฟาสต์ฟุบ” ของคนอเมริกันไปในที่สุด

    สมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกา ได้วิจัยพบว่า ผู้ที่นิยมรับประทานเนื้อสัตว์ จะมีปริมาณระดับโคเลสเตอรอลสูงถึง ๒๑๐ มิลลิกรัม โคเลสเตอรอลในเลือด หากมีปริมาณมาก มันจะตกตะกอน เกาะติดกับผนังเส้นเลือด ทำให้เส้นเลือดตีบ และเกิดเส้นเลือดแข็ง หากเป็นเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจ ก็จะทำให้หัวใจวายในที่สุด
    โคเลสเตอรอลมีมากที่สุดในไขมันสัตว์ และไม่สามารถละลายได้ในร่างกายของมนุษย์ มันจะสะสม อยู่ตามผนังของเส้นเลือด ก่อให้เกิดภาวะอุดตันในเส้นเลือด หรือเส้นเลือดตีบ เมื่อเลือดไหลผ่านได้น้อย หัวใจต้องทำงาน หนัก ในการสูบฉีด เป็นเหตุให้ความดันโลหิตสูง และเป็นโรคหัวใจ

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • cac2.jpg
      cac2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      188.8 KB
      เปิดดู:
      88
  8. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    โรคหัวใจ จากหลักฐานข้อมูลใหม่

    โรคหัวใจ จากหลักฐานข้อมูลใหม่
    มาจากการบริโภคเนื้อสัตว์ เป็นสาเหตุสำคัญ นอกเหนือจากภาวะความเสี่ยง
    อันตราย จากโรคร้ายอื่น ๆ เช่นมะเร็ง ไขมันอุดตัน โรคเบาหวาน
    โรคหัวใจ จากหลักฐานข้อมูลใหม่
    มาจากการบริโภคเนื้อสัตว์ เป็นสาเหตุสำคัญ นอกเหนือจากภาวะความเสี่ยง
    อันตราย จากโรคร้ายอื่น ๆ เช่นมะเร็ง ไขมันอุดตัน โรคเบาหวาน
    โรคหัวใจ ถือเป็นฆาตกรอันดับต้น ๆ ที่คร่าชีวิตชาวอเมริกันปีละหลายสิบล้านคน
    กว่า 40% ประชากรชาวอเมริกันมีปัญหาสุขภาพเรื่องความดันโลหิตสูง ถึง 74 ล้านคน
    และ โรคหัวใจกว่า 20 ล้านคน กว่า 885,000 คน สูญเสียชีวิตจากภาวะโรคหัวใจ
    ในแต่ละปี รัฐต้องสูญเสียงบประมาณ ปีละกว่า 634.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือ
    นับเป็นหลาย ๆ แสน ๆ ล้าน บาทต่อปี


    อาหารปลอดเนื้อสัตว์ จะสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องสุขภาพ
    ในระยะยาวได้


    ข้อมูล จาก
    กลุ่มคณะแพทย์ผู้ดูแล รับผิดชอบเรื่องเวชภัณฑ์ ยา แห่งสหรัฐ



    อาหารปลอดเนื้อสัตว์ จะสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องสุขภาพ
    ในระยะยาวได้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • p1.jpg
      p1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      180.2 KB
      เปิดดู:
      90

แชร์หน้านี้

Loading...