ผลคว่ำบาตรป่วนพม่าผู้ป่วยวัณโรคไร้ยารักษา

ในห้อง 'ข่าวทั่วไป' ตั้งกระทู้โดย NoOTa, 8 มกราคม 2006.

  1. NoOTa

    NoOTa Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    20,125
    กระทู้เรื่องเด่น:
    349
    ค่าพลัง:
    +64,492
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>8 มกราคม 2549 13:56 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=250>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ส่วนหนึ่งอาจเป็นผลจากการคว่ำบาตร กองทุนที่คอยให้การช่วยเหลือได้ถอนตัวออกไป รัฐบาลพม่าจึงเป็นผู้ควบคุมดูแลแต่เพียงผู้เดียว ซึ่งอาจสต็อกยาไว้</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> กรุงเทพฯ - ผู้ป่วยวัณโรคในพม่าต่างก็กำลังประสบกับปัญหายารักษาวัณโรคขาดตลาด และราคาเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก การนำเข้ายาจากอินเดียก็มีความล่าช้าโดยไม่ทราบสาเหตุ ส่วนหนึ่งอาจเป็นผลเกิดจากรัฐบาลสต็อกยาและกองทุนช่วยเหลือของสหประชาชาติได้ถอนการช่วยเหลือจากพม่าไปเมื่อไม่นานมานี้ (UN-created Global Fund)

    "ผมไม่สามารถหาซื้อยามารักษาลูกชายได้เลย ทั้ง ๆ ที่ไปตามร้านขายยาในเมืองมาเกือบหมดแล้ว เพราะลูกชายของผมต้องใช้ยาในการรักษาติดต่อกันนานมากกว่า 45 วัน" นายโก วิน (Ko Win) พ่อของเด็กชายวัย 5 ปี กล่าว ทั้งนี้เป็นรายงานของสำนักข่าวเอเอฟพี

    นายโก วิน กล่าวอีกว่า ถึงแม้ว่าในที่สุดเขาก็สามารถหาซื้อยา R/cinex มาได้จำนวนหนึ่ง แต่ก็ต้องจ่ายเงินค่ายาในอัตราที่เพิ่มขึ้นจากปกติมากกว่า 2 เท่า ซึ่งแต่เดิมราคายาจำนวน 10 เม็ด มีราคาประมาณ 700 จั๊ต แต่ปัจจุบันเพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ประมาณ 2,000 จั๊ต (1.75 ดอลลาร์สหรัฐ)

    บรรดาเจ้าของร้านขายยาก็ไม่สามารถอธิบายถึงสาเหตุของการขาดแคลนยารักษาวัณโรคได้เช่นกัน ในขณะที่มีลูกค้าเข้ามาซื้อยาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทางบริษัท Mega Products ซึ่งเป็นผู้นำเข้ายา R/cinex เพียงรายเดียวในพม่า กล่าวว่า ได้ทำการสั่งนำเข้ายาชนิดดังกล่าวจากอินเดียไปแล้ว แต่ทางบริษัทผู้นำเข้าก็ไม่ได้อธิบายถึงสาเหตุของความล่าช้าในการนำเข้าแต่อย่างใด เพียงแค่ยืนยันว่ายาคงจะมาถึงในเร็ว ๆ นี้

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=395 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=395>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>หญิงชาวพม่าถามซื้อยาที่ร้านขายยาในกรุงย่างกุ้ง เมื่อวันเสาร์ (7 ม.ค.) ในขณะที่ปัจจุบันยารักษาวัณโรคกำลังขาดตลาด และราคาก็แพงขึ้นมากกว่า 2 เท่า</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เจ้าหน้าที่แผนกสาธารณสุขพม่ารายหนึ่ง กล่าวว่า หน่วยงานที่เป็นของรัฐกลับไม่ได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนยาแต่อย่างใด ผู้ป่วยที่มาเข้ารับการรักษา รวมถึงเด็ก ๆ ด้วยกว่า 100,000 ราย ยังคงได้รับการรักษาจากคลีนิคของรัฐโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เลย

    "เราก็ให้ยารักษาแก่ผู้ป่วยที่มาที่แผนกของเราตามปกตินะ และทุกคนก็ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเลยด้วย ยาที่มีก็มากพอต่อการรักษา รับประกันได้เลยว่าไม่ว่าใครก็ตามก็สามารถมารักษากับเราได้ และมันก็ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอะไรกับเราเลยที่ยาขาดตลาด" เจ้าหน้าที่สาธารณสุขกล่าวโดยที่ไม่ได้ระบุจำนวนยาที่รัฐบาลสต็อกไว้ว่ามีมากเท่าใด

    สาเหตุที่ชาวพม่าจำนวนมากไม่เต็มใจไปรับการรักษากับสถานพยาบาลของรัฐ เพราะขั้นตอนที่ยุ่งยาก และความไม่โปร่งใสของบรรดาเจ้าพนักงานของรัฐ

    องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) กล่าวว่า รัฐบาลทหารพม่าถือได้ว่าเอาใจใส่และประสบความสำเร็จพอสมควรในการหยุดยั้งวัณโรค ถึงแม้ว่าด้านเศรษฐกิจ และระบบสาธารณสุขจะล้มเหลวก็ตาม และในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 97,000 ราย

    ส่วนหนึ่งมาจากการที่พม่าได้รับทุนช่วยเหลือในการต่อต้านวัณโรค โรคเอดส์ และมาลาเรีย จากกองทุนของสหประชาชาติ เป็นจำนวนเงินกว่า 98 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา แต่กองทุนดังกล่าวได้ถอนการช่วยเหลือพม่ามาตั้งแต่เดือน ส.ค. 2548 หลังจากนั้นการดำเนินงานต่าง ๆ ทางรัฐบาลจึงต้องเป็นผู้กำหนด และควบคุมเอง
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...