ควรที่

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย รสมน, 17 กันยายน 2010.

  1. รสมน

    รสมน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,451
    ค่าพลัง:
    +2,047
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=890><TBODY><TR><TD colSpan=3>ขอเชิญทอดกฐินสามัคคี ปี พ.ศ. ๒๕๕๓

    ๑๐๘ วัดกรรมฐาน (เพิ่มอีก ๓๓๘ วัด รวมเป็น ๔๔๖ วัด) พัฒนาคุณธรรมคู่พัฒนาเศรษฐกิจ
    ถวายเป็นพระราชกุศลแด่
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
    สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และ พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์
    กลุ่มนิตยสารโลกทิพย์-โลกลี้ลับ สถาบันศึกษาพุทธศาสนาทางไปรษณีย์/net สภาชาวพุทธ มูลนิธิโลกทิพย์ ได้เป็นแกนนำรวมศรัทธาชาวพุทธทั่วโลก ทอดกฐินสามัคคี
    เพื่อทำนุบำรุงพระศาสนามาหลายปีแล้ว สำหรับกาลกฐินในปี ๒๕๕๓ กระผม นายมงคล เนินอุไร และ นางพนิดา ชอบวณิชชา (มารดา) ได้ร่วมกันบริจาคเป็นประเดิมไว้ วัดละ ๕๐๐ บาท (๑๐๘ วัด) เป็นเงิน ๕๔,๐๐๐ บาท พร้อมกันนั้นได้เชิญชวนผู้อ่าน ทั้งในและนอกประเทศให้ร่วมในมหากุศลนี้ด้วย



    </TD></TR><TR><TD colSpan=3></TD></TR><TR><TD colSpan=3>
    <TABLE border=1 cellSpacing=0 borderColor=#0099ff cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD>ซึ่งสามารถร่วมทำบุญได้โดย</TD></TR><TR><TD>
    • ส่งเงินทาง ธนาณัติ ในนาม นายมงคล เนินอุไร ๔๘๓/๑๑ ถนนประชาสงเคราะห์ ซอย ๒ เขตดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐ สอบถามรายละเอียด โทร. ๐-๒๒๔๘-๓๒๙๑-๓
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ควรทราบว่า ขันธ์ ๕ และอุปทานขันธ์ ๕ ต่างโดยขันธ์ทั้ง ๕ เป็นขันธ์

    แต่กิเลสที่เข้าไปยึดขันธ์เป็นอุปาทาน ดังนั้น อุปาทานขันธ์ คือขันธ็ที่

    เป็นที่ยึด ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน หรือขันธ์ที่เกิดจากอุปาทาน

    ได้แก่โลกียธรรมทั้งหมด เว้นโลกุตตรธรรม ๙

    ปรมัตถธรรม
    ปรม ( อย่างยิ่ง , ประเสริฐ ) + อตฺถ ( เนื้อความ ) + ธมฺม ( สภาพที่ทรงไว้ )

    ธรรมที่มีเนื้อความที่ประเสริฐอย่างยิ่ง หมายถึง สิ่งที่มีอยู่จริง ได้แก่ จิต เจตสิก รูป

    นิพพาน เป็นสภาพธรรมที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจในเบื้องต้น เพราะเป็นปัจจัยต่อ

    การอบรมปัญญาขั้นสูงขึ้นต่อไป คือ จะต้องศึกษาให้เข้าใจว่า สิ่งที่มีจริงโดยปรมัตถ์

    นั้นเป็นอย่างหนึ่ง และสิ่งที่มีจริงโดยเป็นเพียงการสมมติขึ้นเป็นอีกอย่างหนึ่ง เมื่อ

    เข้าใจความจริงทั้ง ๒ ประเภทแล้ว จึงรู้ว่าการที่จะรู้แจ้งอริยสัจจธรรมนั้น จะต้องเป็น

    การประจักษ์แจ้งความจริงที่เป็นปรมัตถ์ โดยการระลึกรู้ความจริงคือจิต เจตสิก รูป ที่

    ปรากฏในชีวิตประจำวัน จนกว่าจะประจักษ์แจ้งความจริงที่เป็นนิพพานในที่สุด

    ธรรมะ หมายถึง สิ่งที่มีจริง (รูป การเห็น จักขุปสาทรูป เป็นต้น)

    อภิธรรม หมายถึง เป็นธรรมะที่ยิ่ง ที่ละเอียด

    ปรมัตถธรรม หมายถึง เป็นสภาพที่ไม่มีใครสามารถเปลี่ยนแปลงสภาพของ

    ปรมัตถ์ได้ โดยมีลักษณะของตนๆ อยู่ โดยเกิดขึ้นทำกิจของตน แต่ถ้าหากว่า

    เราเข้าใจแล้วถึงความเหมือนหรือต่างกันอย่างไรก็สามารถใช้แทนกันก็ได้ ท่าน

    สามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้

    ปรมัตถธรรม มาจากคำว่า ปร+อัตถ+ธรรมะ หมายความ ถึงสภาพ

    ธรรมที่มีลักษณะเฉพาะของตนจริงๆ ซึ่งใครจะเรียกอะไรก็ได้ หรือจะไม่ใช้

    ชื่อเรียกอะไรก็ได้ เช่น ลักษณะที่แข็ง จะใช้ภาษาอังกฤษ ภาษไทย หรือ

    ว่าไม่เรียกอะไรเลย แต่เวลากระทบสัมผัส ลักษณะแข็งนั้นปรากฏ หมาย

    ความถึง สภาพที่มีจริงๆ เช่น รสเปรี้ยวมีจริง แต่ต้องอาศัยลิ้มรส ซึ่งทุกคน

    บริโภคอาหาร แต่ขณะที่บริโภคนั้นก็ไม่สนใจที่จะรู้ว่า แม้แต่รสที่ปรากฏนั้น

    ก็เป็นของจริงเป็นธรรม

    ฉะนั้น ถ้าใช้คำภาษาไทยง่ายๆว่า " ปรมัตถธรรม " คือ สิ่งที่มีจริง

    ทุกอย่างที่มีจริง เสียงมีจริง เสียงเป็นปรมัตถธรรม โลภะ ความโลภความติด

    ข้องเป็นสิ่งที่มีจริง เป็นปรมัตถธรรม ความโกรธความขุ่นเคืองเป็นสิ่งที่มีจริง

    เป็นปรมัตถธรรม เมื่อเป็นปรมัตถธรรม ก็หมายความว่า เป็นธรรมะ ไม่มีเจ้า

    ของ ไม่ใช่ของใคร เพราะว่า โลภะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย แล้วก็ดับไป

    โทสะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย แล้วก็ดับไป ขณะที่เห็นในขณะนี้เกิดขึ้นเพราะ

    เหตุปัจจัย แล้วก็ดับไป ถ้าไม่มีจักขุปสาท ถ้าเกิดกรรมทำให้จักขุปสาทซึ่ง

    ดับไปแล้ว ไม่เกิดอีก ขณะนี้จะตาบอดทันที ไม่มีการเห็นอีกต่อไป ฉะนั้น

    ทุกคนมีรูป คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย แล้วก็มีจิตคือ สภาพรู้ ธาตุรู้ แล้วก็มี

    เจตสิกซึ่งเป็นสภาพธรรมที่เกิดกับจิต เพราะว่า
    ปรมัตถธรรมนั้นมี ๔ คือ

    ๑. จิต ๒. เจตสิก ๓. รูป ๔. นิพพาน
    ถ้าไม่เรียกชื่อ เอาชื่อของทุก

    ท่านในที่นี้ออก แต่ก็ยังมีรูปและมีจิตแล้วก็ยังมีเจตสิก ฉะนั้น จิต เจตสิก

    รูป เป็น ปรมัตถธรรม เป็นสิ่งที่มีจริงๆ

    นี่เป็นปรมัตถธรรมอย่างย่อ อย่างละเอียดก็จะต้องศึกษาอย่างละเอียด

    แต่ให้ทราบว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีจริง มีสภาพธรรมลักษณะปรากฏให้รู้ได้

    ไม่จำเป็นต้องเรียกชื่ออะไรเลยก็ได้ เพราะว่า แข็ง ภาษาไทยเรียกอย่าง

    หนึ่ง ภาษาอังกฤษเรียกอีกอย่างหนึ่ง ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่นก็เรียกต่างกันไป

    แต่ว่าลักษณะที่แข็งไม่เปลี่ยน

    ฉะนั้น ปรมัตถธรรมที่มีอยู่ เป็นสภาพธรรมที่เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี

    ๓ ปรมัตถ์ คือ จิต เจตสิก รูป ส่วนนิพพานนั้นตรงกันข้าม คือเป็นสภาพที่มี

    จริงแต่ไม่เกิด ถ้าจะแสวงหาปรมัตถธรรมด้วยตัวเอง ในวันหนึ่งวันหนึ่งจะ

    พบตลอดเวลา ขณะที่กำลังกระทบสัมผัส แข็งมีจริง เป็นปรมัตถธรรม

    ขณะที่กำลังเห็นสิ่งที่ปรากฏทางตา มีจริงเป็นปรมัตถธรรม เสียงในขณะที่

    กำลังได้ยินมีจริง เป็นปรมัตถธรรม คิดนึกเป็นสิ่งที่มีจริง เป็นปรมัตถธรรม

    ฉะนั้น ปรมัตถธรรม คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน ถ้าจะกล่าวถึง

    ปรมัตถธรรมที่เกิดดับแล้วมี ๓ คือ จิต เจตสิก รูป แยกเป็น ๒ ประเภท

    ใหญ่ เป็นนามธรรมประเภท ๑ และเป็นรูปธรรมประเภท ๑ สำหรับรูปก็

    ได้แก่ สี เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ซึ่งประสพอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน กระทบส่วน

    ใดของร่างกายก็แข็ง กระทบสัมผัสสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็แข็ง นั่นก็เป็นรูปที่ปรากฏ

    ให้รู้ได้ สำหรับจิตเป็นสภาพที่เป็นใหญ่ เป็นประธานในการรู้ เช่น เห็น แต่

    สำหรับเจตสิกก็เป็นสภาพธรรมที่เกิดกับจิต ดับพร้อมจิต รู้อารมณ์เดียวกับ

    จิต เช่น ขณะที่เห็นแล้วก็มีความพอใจ ไม่พอใจ ความพอใจไม่พอใจนั้น

    เป็นเจตสิก ไม่ใช่จิต

    สำหรับเมตตานั้น พวกพรหมทั้งหลาย มีจิตปราศโทสะ อยู่ฉันใด
    ผู้ประกอบด้วยเมตตาก็ฉันนั้น ย่อมเป็นอยู่ เสมอกับ พรหม ดังนั้น
    จึงตรัสเรียกว่า "พรหมวิหาร" ก็เพราะปราศจากโทษ
    โดย อรรถ ว่า ประเสริฐ

    เอาบุญมาฝากวันนี้ได้ถวายสังฆทานทุกวัน
    อนุโมทนาบุญกับผู้ใส่บาตรตามถนนหนทาง กรวดน้ำอุทิศบุญ เจริญวิปัสสนา ให้ธรรมะเป็นทาน ให้อภัยทาน
    รักษาศีล อาราธนาศีล เจริญวิปัสสนา ได้ปฏิบัติธรรม
    ได้ถวายข้าวพระพุทธรูป สักการะพระธาตุ
    ทำงานบ้านช่วยพ่อแม่และเจริญอาโปกสิน ศึกษาการรักษาโรค
    ให้อาหารสัตว์เป็นทาน ปิดทองที่พระธาตุเจดีย์
    ได้ร่วมบุญสร้างพระสูงที่สุดในโลก 199 ม.
    สร้างพระที่ทำด้วยคริสตัน หล่อพระด้วยทองคำ 5 องค์
    ร่วมสร้างพระปฐมใหญ่ที่สุดในโลกหน้าตัก 60 ม.
    ได้ช่วยเหลือเพื่อนที่ได้รับความลำบาก
    อนุโมทนากับผู้ให้อาหารปลาที่วัด
    และสร้างบารมีครบทั้ง 10 อย่าง ขอให้อนุโมทนาบุญด้วย



    ขอเชิญทอดกฐินสามัคคี ปี พ.ศ. ๒๕๕๓


    ๑๐๘ วัดกรรมฐาน (เพิ่มอีก ๓๓๘ วัด รวมเป็น ๔๔๖ วัด) พัฒนาคุณธรรมคู่พัฒนาเศรษฐกิจ
    ถวายเป็นพระราชกุศลแด่
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
    สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และ พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์
    กลุ่มนิตยสารโลกทิพย์-โลกลี้ลับ สถาบันศึกษาพุทธศาสนาทางไปรษณีย์/net สภาชาวพุทธ มูลนิธิโลกทิพย์ ได้เป็นแกนนำรวมศรัทธาชาวพุทธทั่วโลก ทอดกฐินสามัคคี
    เพื่อทำนุบำรุงพระศาสนามาหลายปีแล้ว สำหรับกาลกฐินในปี ๒๕๕๓ กระผม นายมงคล เนินอุไร และ นางพนิดา ชอบวณิชชา (มารดา) ได้ร่วมกันบริจาคเป็นประเดิมไว้ วัดละ ๕๐๐ บาท (๑๐๘ วัด) เป็นเงิน ๕๔,๐๐๐ บาท พร้อมกันนั้นได้เชิญชวนผู้อ่าน ทั้งในและนอกประเทศให้ร่วมในมหากุศลนี้ด้วย


    ส่งเงินทาง ธนาณัติ ในนาม นายมงคล เนินอุไร ๔๘๓/๑๑ ถนนประชาสงเคราะห์ ซอย ๒ เขตดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐ สอบถามรายละเอียด โทร. ๐-๒๒๔๘-๓๒๙๑-๓

    • โอนเงิน เข้าบัญชีชื่อ นายมงคล เนินอุไร ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนอโศก-ดินแดง

    • เลขที่ 049-2-08708-6 ประเภทออมทรัพย์
    • <TABLE border=1 cellSpacing=0 borderColor=#0099ff cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD>สอบถามรายละเอียด โทร. ๐-๒๒๔๘-๓๒๙๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๖-๖๔๖๓</TD></TR></TBODY></TABLE>
      สอบถามรายละเอียด โทร. ๐-๒๒๔๘-๓๒๙๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๖-๖๔๖๓
     

แชร์หน้านี้

Loading...