ขออนุญาติเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ(ครูไทย)ครับ

ในห้อง 'ข่าวทั่วไป' ตั้งกระทู้โดย อ.รัตน์ เขื่อนเพชร, 27 มีนาคม 2009.

  1. อ.รัตน์ เขื่อนเพชร

    อ.รัตน์ เขื่อนเพชร Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มกราคม 2009
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +27
    [FONT=&quot]เรื่องที่วิจัย[FONT=&quot] รายงานการวิจัย การใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๙[/FONT]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ชื่อผู้วิจัย[FONT=&quot] นายรัตน์ เขื่อนเพชร[/FONT]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ปีที่วิจัย [FONT=&quot]๒๕๕๐[/FONT]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]บทคัดย่อ<o:p></o:p>[/FONT]​
    <o:p> </o:p>
    [FONT=&quot] การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๒) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการอ่านในใจของนักเรียนที่ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจ ๓) เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๙ อำเภอ แม่อาย จังหวัด เชียงใหม่ ปีการศึกษา ๒๕๕๐ จำนวน ๒๑ คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจ ,[FONT=&quot] แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน[/FONT],[FONT=&quot] แบบสัมภาษณ์ ความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักเรียน สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ จำนวนนับ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่า[/FONT] t – test <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ๑) ได้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจ จำนวน ๑๐ ชุด ๒) ผลการตรวจสอบและหาค่า IOC [FONT=&quot]ของผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบแบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านในใจ พบว่า[/FONT][FONT=&quot] [/FONT] [FONT=&quot]ได้ค่า [/FONT]IOC[FONT=&quot] มีค่าเท่ากับ ๐.๘๘ ซึ่งมีค่าสูงพอสำหรับการนำแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๓) ผลสัมฤทธิ์เรื่องการจับใจความสำคัญ โดยใช้แบบฝึกการอ่านในใจของกลุ่มตัวอย่างพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .๐๕ ๔) ผลการสัมภาษณ์ ความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านในใจ พบว่า มีค่าเฉลี่ยร้อยละ ๙๒. ๗๑ ระดับความพึงพออยู่ในระดับมากที่สุด<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> ;aa48</o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
     
  2. ชมลักษณ์ อุ่นศิริ

    ชมลักษณ์ อุ่นศิริ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2018
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +0
    ขออนุญาติเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ(ครูไทย) ค่ะ
    ชื่องานวิจัย การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่อง กฎหมายอาญา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดปราสาททองจังหวัดสุพรรณบุรี
    ผ้วิจัย ู นางชมลักษณ์ อุ่นศิริ
    ผ้เชี่ยวชาญ ู (1) รองศาสตราจารย์ ดร.สมคิด พรมจุ้ย (2) รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา ธนวิบูลย์ชัย (3) ดร.พรรณมาส พรมพิลา (4) นางวิลาวัลย์ ดุริยะประพันธ์ (5) นางสาวละเอียด สดคมขํา
    ปี การศึกษา 2557
    บทคัดย่อ
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาแบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา (3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา และ (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา กลุ่ม ตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/2 ปี การศึกษา 2557โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดปราสาททอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 36คน ที่ได้มาโดยการเลือกแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบฝึกทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (3) แบบทดสอบวัดการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และ (4) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การทดสอบค่าที t-test แบบ dependent ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมาย อาญา มีประสิทธิภาพ 80.91/81.10 สูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้(2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01(3) การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใช้แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญา หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01และ (4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ ก ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิคหมวกหกใบ เรื่องกฎหมายอาญาอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุ
     

แชร์หน้านี้

Loading...